|
|
จุดชมวิว
ระหว่างทางขึ้นเขาพนมรุ้ง |
|
|
จุดชมวิว
ด้านหลังเขาพนมรุ้ง |
|
|
ป้ายปราสาทเขาพนมรุ้ง
อยู่บนทางเข้าที่จอดรถ |
|
|
ร้านค้า
ทางเข้าที่จอดรถ |
|
|
|
หอพระพุทธพนมรุ้ง
ทางเข้าปราสาท |
|
|
พลับพลา
ขวามือทางเข้าก่อนถึงตัวปราสาท |
|
|
ปราสาทเขาพนมรุ้ง
1 ใน unseen Thailand
วันนี้คนเยอะเนื่องในวันสงกรานต์ |
|
|
วงดนตรี
กำลังบรรเลงเพลงชาวบ้านอยู่พอดี
ระหว่างทางขึ้นเขา |
|
|
|
นาคา หรือนาค
ทางเข้าชั้นใน สัญญาลักษณ์อีกอย่างของสถานที่นี้ |
|
|
สิงห์
ด้านทิศตะวันตก อยู่ตรงข้ามกับนาค อีกด้านของปราสาท |
|
|
ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ และวามนาวตาร
|
|
|
นารายบรรทมสินธุ์
นารายณ์บรรทมสินธุ์ หรือ วิษณุอนันตศายินปัทมนาคิน แสดงภาระกิตพระวิษณุเกี่ยวกับการกำเนิดของโลกและจักรวาล พระวิษณุประทับนิทราบนพระยานาคในเกษียรสมุทร (ทะเลน้ำนม) หลังจากที่โลกถูกทำลายลงเมื่อสิ้นกัลป์ พระลักษมีประทับอยู่ที่เบื้องพระบาท มีดอกบัวผุดขึ้นมาจากพระนาภี (สะดือ) ของพระนารายณ์มีพระพรหม ผู้สร้างโลกและสรรพชีวิตประทับอยู่ |
|
|
|
วามนาวตาร
หรือ นารายณ์ตรีวิกรม อวตารพระวิษณุเพื่อปลดปล่อยโลกทั้งสามจากอำนาจของอสูรพลี พระวิษณุอวตารเป็นพราหม์ชื่อ วามน เข้าร่วมพิธีบูชายัญม้าของอสูรพลีและร่ายมนต์สะกดอสูรพลีไว้ อสูรพลีสัญญาจะให้ทุกสิ่งที่ต้องการพราหมณ์วามนได้ของแผ่นดินเพียงสามก้าวย่างและเนรมิตร่างกายจนใหญ่โต ก้าวย่างเพียงสามก้าวก็ได้อาณาเขตโลกทั้งสาม |
|
|
ศิวนาฏราช
คือ พระศิวะทรงฟ้อนรำเชื่อกันว่าการฟ้อนรำของพระองค์เป็นการสร้าการทำลายโบกไปพร้อมกันหากพระองค์ ฟ้อนรำด้วยท่วงทำนองที่พอดีโลกก็จะอยู่ด้วยความสงบสุข แต่หากทรงฟ้อนรำด้วยจังหวะที่ร้อนแรงก็จำทำให้โลกต้องพบกับภัยพิบัติถึงขั้นทำลายโลกให้พินาศลงได้ ในภาพนี้เป็นการฟ้อนรำบนเขาไกรลาส พระศิวะมีสิบกรฟ้อนรำอยู่บนแท่น เหล่าเทพที่แวดล้อมอยู่เบื้องหน้าประกอบด้วยพระกเณศ พระพรหม พระวิษณุ และหญิงหน้าตาดุร้ายทางเบื้องขวาน่าจะหมายถึงนางอุมา อีกคนหนึ่งน่าจะหมายถึง นางกาไลกา ลัมไมยาร์ สาวภผู้ภักดี |
|
|
ศิลาในปราสาท
|
|
|
ปราสาท
ทิศตะวันตกเฉียงใต้ |
|
|
|
ปราสาทฯ
ทิศตะวันตก |
|
|