เกษตรกรรมไทยของเราในตอนนี้นะค่ะนำความรู้ในด้านการคิดพัฒนากันแล้วค่ะวิถีชีวิตชนเผ่านะค่ะ เดิมชาวบ้านในพื้นที่มีอาชีพเกษตรกรรมกันทั้งหมดค่ะ ปลูกชาของชาวไร่ค่ะ ข้าวไร่ ข้าวโพด และงาสภาพความเป็นอยู่ดำเนินไปอย่างแร้นแค้น เงินจำนวน 7.500บาท/ปี/ครัวเรือนที่รับเพิ่มขึ้นจากปลูกฝิ่นจึงถูกมองว่าเป็นหนทางแก้ไขกันนะค่ะ แม้จะไม่มากมายเท่าก็เถอะนะค่ะแต่ก็ทำให้พออิ่มท้อง โยมิได้เฉลี่ยวละค่ะใจถึงพิษภัยมหันต์ที่จะย้อมกลับมาสู่ตนและสังคมได้ค่ะ ผืนป่า 1.400 ไร่ จึงถูกโค่นทำลายกันหมดเลยค่ะเพื่อขยายไร่ฝิ่นค่ะและที่ท่าว่าจะรุกต่อไปอย่างไม่หยุดยั้งเลยที่เดียวค่ะ มิถุนายน 2523 มูลนิธิโครงการหลวงได้เข้ามาช่วยเหลืออีกแรงค่ะ โดยจัดตั้งศูนย์พัฒนาโครงการหลวงแม่ปูนหลวงขึ้นอีกค่ะเพื่อช่วยเหลือในด้านต่าง ๆค่ะ อาทิ ด้านสาธารณสุขก็ดีขึ้นนะค่ะ การศึกษา สังคมด้วยค่ะ และอาชีพจ้า โดยเฉพาะอาชีพเกษตรตรกรรมค่ะซึ่งเป็นอาชีพหลักดงเดิมมานานแล้วนะค่ะ ด้วยการพืชเกษตรทดแทนที่สามารถสร้างรายได้ขึ้นมาอีกค่ะ ได้ดีกว่าฝิ่นค่ะแจ๋วจังค่ะ เริ่มดำเนินการพร้อมกับการแบบเกษตรทดแทนที่สามารถสร้างรายได้ดีกว่าฝิ่นมากขึ้นค่ะ เริ่มดำเนินการพร้อมการจัดการค่ะกับการจัดการใหม่ด้วยค่ะ ซึ่งด้วยมาตรการช่วยเหลือดังกล่าวนี้ค่ะ ทำให้ปัญหาความยากจน การบุกรุกป่า และปัญหายาเสพติด ลดลงและบาบางโดยลำดับค่ะ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงค่ะ ตั้งอยู่ตำบลเวียงค่ะ อำเภอเวียงป่าเป้าค่ะ จังหวัดเชียงราย ค่ะ สูงจากระดับนืทะเล 16.678ไร่ค่ะ รับผิดชอบ 5 หมู่บ้าน 718 ครัวเรือนค่ะ ประชากร 3413 คนจ้า ประกอบด้วยเผ่าลีซอ ค่ะ จีนฮ่อ และมูเซอแดง ด้วยค่ะ ลักษณะ ภูมิประเทศเป็นภูเขาสลับซับซ้อนค่ะ บางพื้นที่เป็นหุบเขาสลับซับซ้อนค่ะ บางพื้นที่เป็นหุบเขาเล็ก ๆมากเลยค่ะ ลาดเทลงลุ่มน้ำแม่งัดและลุ่มน้ำแม่ลาวด้วยจ้า อุณหภูมิเฉลี่ย 17 องศาเซลเซียสค่ะ ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 1.143 มิลลิเมตร/ปีม่านเหมยขาวโพลนแผ่คลุมไปตลอดเส้นทางเลยค่ะในเช้าที่แสงอาทิตย์มิอาจเล็ดลอดผ่านมาสัมผัสผิวถนนเราบังคับรถฝ่าสายหมอกไปตามถนนหลวง จังหวัดเชียงรายแย้วค่ะ กาแฟถูกยกมาต้อนรับ ความร้อนจากแก้วช่วยให้เรารู้สึกอุ่นและยิ่งอุ่นขึ้นเมือจิบให้มันผ่านลำคอค่ะ อากาศข้างนอกยังคงเย็นจัดมากค่ะ หมอกเหมยยังไม่ซาเลยค่ะ สิบโมงเช้าฟ้าเริ่มเปิด แดดอ่อนกระทบน้ำค้างระยับเป็นเป็นสัญญาชี้ชวนให้รู้ว่าถึงเวลาจะทักทายกันได้แล้วเจ้าหน้าที่พาเราไปดูแปลงเกษตรผสมที่หน่วยย่อย ซึ่งปลูกบ๊วยค่ะ พืช กะหล่ำปลีม่วงด้วยค่ะ และปวยเล้งจากนั้นก็ไปดูไร่ชาวจีนฮ่อกันต่อค่ะ ที่ปลูกเป็นขั้นบรรไดจากสันเขาไล่ลงมาเกือบถึงตีนเขาเลยค่ะ ชาที่ปลูกเป็นพันธุ์อู่หลง และชาสามฤดูกาลค่ะ รสชาติหอมชื่นใจมากเลยค่ะ หากต้องการดืมชาให้ได้รสที่แท้จริงต้องชงในอุ่นทิ้งงระยะไว้คู่จึงดื่มกันนะค่ะ จากไร่ชาหัวหน้าศูนย์ฯ พาเราไปชมพื้นที่โครงการอนาคต ค่ะเตรียมสร้างไว้รองรับนักท่องเที่ยวที่จะเพิ่มมากขึ้นในวันข้างหน้าค่ะ เปลียนที่วางไว้ที่วางไว้ทั้งเพิ่มบ้านพักสำหรับนักท่องเที่ยวกันนะค่ะ ขยายแปลงไม้ดอกด้วยค่ะ แปลงผักเมืองหนาวด้วยค่ะ และสร้างลานจอรถเปิดโล่งที่มองเห็นทะเลหมอกยามเช้าและรับแสแรกของดวงอาทิตย์ค่ะ ซึ่งก็เชื่อมั่นว่าความตั้งใจเหล่านี้จะสัทฤทธิ์ผลนะค่ะ เพราะมีปัจจัยหลายประการเอื้อต่อการพัฒนาค่ะ ทั้งกำลังคนที่สามัคคีพร้อมใจและทัศนียภาพของธรรมชาติที่สดใสไม่แพ้ดอยอ่างขางเลยค่ะ อินทนนท์ค่ะ หรือแม้แต่ห้วยน้ำดังคอรอเพียงประการเดียวคืองบประมาณที่กำลังจะมาถึงในไม่ช้าค่ะ บ่ายคล้อยเราไปชมแปลงเกษตรของชาวเขาเผ่าลีซอค่ะสวยมากเลยค่ะ ที่ยังคงอนุรักษ์การแต่งกายอันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะแปลงผักเมืองหนาวกันอยู่ค่ะของที่นี่แปลงเซเลอร์ซึ่งใกล้ฤดูเก็บเกี่ยวกันแล้วค่ะ ลักษณะต้นคล้ายขึ้นฉายจีน กลิ่นก็หอมเหมือนกันค่ะแต่มีลำต้นที่ใหญ่กว่ากันค่ะ สรรพคุณช่วยลดความดันโลหิตคนที่เป็นโรคไตก็สามารถรับประทานได้ค่ะเพราะมีโซเดียมต่ำถัดมาเป็นแปลงแฟนเนล ใบจะมีลักษณะคล้ายขนนก มีกลิ่นหอมใช้โรยแต่งอาหารคล้ายผักชี ส่นใหญ่ชาวบ้านจะนิยมเก็บรับประทานสด ส่วนหัวจะใช้ตุ๋นกับเนื้อสัตว์ เพราะช่วยดับกลิ่นคาวได้ดี ส่วนหัว จะใช้ตุ๋นกับเนื้อสัตว์ เพราะช่วยดับกลิ่นคาวได้ดี เป้นผักที่มีแคลเซียมสูงมาก และแปลงสุดท้ายเป้นพาร์สเลย์พืชสมุนไพรอีกชนิดหนึ่งที่ใช้ตกแต่งจานอาหาร หรือนำชุบแป้งทอดอร่อยเหลือหลาย ก่อนกลับศูนย์ เราแวะหมู่บ้านลีซอ บ้านเรือนบ้างพัฒนาไปตามยุค บ้างคงไว้ซึ่งรูปแบบเดิม ตามทางเดินประดับด้วยพันธ์ไม้ต่าง ๆ เช่น ผกากรองป่า ต้นคริสต์มาส กุหลาบ และแปลงปลูกสะแตติส แคสเปียร์ ลักษณะใบยาวรีดอกจะมีขานดเล็กหลากสี อาทิ ชมพู ม่วง และขาว
|